ยอดขายรถยนต์ในไทยที่ผ่านมา

  • ยอดขายเดือนพฤษภาคม 2565 ทั้งหมด 64,735 คัน
  • ยอดขายเดือนเมษายน 2565 ทั้งหมด 63,427 คัน
  • ยอดขายเดือนมีนาคม 2565 ทั้งหมด 87,245 คัน
  • ยอดขายเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ทั้งหมด 74,489 คัน
  • ยอดขายเดือนมกราคม 2565 ทั้งหมด 69,455 คัน
  • ยอดขายเดือนธันวาคม 2564 ทั้งหมด 91,010 คัน
  • ยอดขายเดือนพฤศจิกายน 2564 ทั้งหมด 71,716 คัน
  • ยอดขายเดือนตุลาคม 2564 ทั้งหมด 64,462 คัน
  • ยอดขายเดือนกันยายน 2564 ทั้งหมด 64,122 คัน
  • ยอดขายเดือนสิงหาคม 2564 ทั้งหมด 42,176 คัน
  • ยอดขายเดือนกรกฏาคม 2564 ทั้งหมด 52,442 คัน
  • ยอดขายเดือนมิถุนายน 2564 ทั้งหมด 64,974 คัน
  • ยอดขายเดือนพฤษภาคม 2564 ทั้งหมด 55,948 คัน
  • ยอดขายเดือนเมษายน 2564 ทั้งหมด 58,132 คัน
  • ยอดขายเดือนมีนาคม 2564 ทั้งหมด 79,969 คัน
  • ยอดขายเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ทั้งหมด 58,960 คัน คัน
  • ยอดขายเดือนมกราคม 2564ทั้งหมด 55,202 คัน
  • ยอดขายเดือนธันวาคม 2563 ทั้งหมด 104,089 คัน
  • ยอดขายเดือนพฤศจิกายน 2563 ทั้งหมด 79,177 คัน
  • ยอดขายเดือนตุลาคม 2563 ทั้งหมด 74,115 คัน
  • ยอดขายเดือนกันยายน 2563 ทั้งหมด 77,907 คัน
  • ยอดขายเดือนสิงหาคม 2563 ทั้งหมด 68,883 คัน
  • ยอดขายเดือนกรกฏาคม 2563 ทั้งหมด 59,335 คัน
  • ยอดขายเดือนกรกฏาคม 2563 ทั้งหมด 59,335 คัน
  • ยอดขายเดือนมิถุนายน 2563 ทั้งหมด 58,013 คัน
  • ยอดขายเดือนพฤษภาคม 2563 ทั้งหมด 40,418 คัน
  • ยอดขายเดือนเมษายน 2563 ทั้งหมด 30,109 คัน
  • ยอดขายเดือนมีนาคม 2563 ทั้งหมด 60,105 คัน
  • ยอดขายเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ทั้งหมด 68,271 คัน
  • ยอดขายเดือนมกราคม 2563 ทั้งหมด 71,688 คัน
  • ยอดขายเดือนธันวาคม 2562 ทั้งหมด 89,285 คัน
  • ยอดขายเดือนพฤศจิกายน 2562 ทั้งหมด 79,299 คัน
  • ยอดขายเดือนตุลาคม 2562 ทั้งหมด 77,122 คัน
  • ยอดขายเดือนกันยายน 2562 ทั้งหมด 76,195 คัน
ยอดขาย ยอดขาย
มกราคม 2563 มกราคม 2564
71,688 คัน 55,202 คัน
กุมภาพันธ์ 2563 กุมภาพันธ์ 2564
68,271 คัน 58,960 คัน
มีนาคม 2563 มีนาคม 2564
60,105 คัน 79,969 คัน
เมษายน 2563 เมษายน 2564
30,109 คัน 58,132 คัน
พฤษภาคม 2563 พฤษภาคม 2564
40,418 คัน 55,948 คัน
มิถุนายน 2563 มิถุนายน 2564
58,049 คัน 64,974 คัน
กรกฏาคม 2563 กรกฏาคม 2564
59,335 คัน 52,442 คัน
สิงหาคม 2563 สิงหาคม 2564
68,883 คัน 42,176 คัน
กันยายน 2563 กันยายน 2564
77,907 คัน 64,122 คัน
ตุลาคม 2563 ตุลาคม 2564
74,115 คัน 64,462 คัน
พฤศจิกายน 2563 พฤศจิกายน 2564
79,177 คัน 71,716 คัน
ธันวาคม 2563 ธันวาคม 2564
104,089 คัน 91,010 คัน
มกราคม 2564 มกราคม 2565
55,202 คัน 69,455 คัน
กุมภาพันธ์ 2564 กุมภาพันธ์ 2565
58,960 คัน 74,489 คัน
มีนาคม 2564 มีนาคม 2565
79,969 คัน 87,245 คัน
เมษายน 2564 เมษายน 2565
58,132 คัน 63,427 คัน
พฤษภาคม 2564 พฤษภาคม 2565
55,948 คัน 64,735 คัน

ยอดขายเดือน พฤษภาคม 2565 รวม 64,735 คัน

  1. TOYOTA – 22,129 คัน
  2. ISUZU – 15,728 คัน
  3. HONDA – 5,035 คัน
  4. Mitsubishi – 4,714 คัน
  5. MAZDA – 3,005 คัน
  6. MG – 2,286 คัน
  7. FORD – 2,272 คัน
  8. NISSAN – 1,531 คัน
  9. SUZUKI – 1,514 คัน
  10. Hino – 1,193 คัน
  11. GWM – 1,132 คัน
  12. HYUNDAI – 458 คัน
  13. KIA – 225 คัน
  14. Subaru – 162 คัน
  15. Porsche – 65 คัน
  16. Lexus – 52 คัน
  17. Peugeot – 43 คัน
  18. CP-FOTON – 36 คัน
  19. SsangYong – 14 คัน
  • บางรุ่นที่ยอดขายไม่มี ไม่ใช่ว่าขายไม่ได้เพียงแต่ยังไม่มีข้อมูล ในเดือนนั้น

        นายสุรศักดิ์ สุทองวัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด รายงานสถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนพฤษภาคม 2565 มีตัวเลขการขายรวมทั้งสิ้น 64,735 คัน เพิ่มขึ้น 15.7% ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 20,084 คัน เพิ่มขึ้น 29% รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ 44,651 คัน เพิ่มขึ้น 10.6% และรถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 33,822 คัน เพิ่มขึ้น 6.4% 

ประเด็นสำคัญ 

ตลาดรถยนต์เดือนพฤษภาคมมีปริมาณการขาย 64,735 คัน เพิ่มขึ้น 15.7% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นถึง 29% ส่วนตลาดรถยนต์เพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเจริญเติบโตเช่นเดียวกันที่ 10.6% เนื่องจากสถานการณ์เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ประชาชนกลับมาใช้ชีวิตในการประกอบอาชีพและกิจกรรมทางเศรษฐกิจจนเกือบเป็นปกติ แม้จะมีปัจจัยลบที่สำคัญคือสถานการณ์ราคาน้ำมันที่พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีความต้องการใช้รถยนต์ของผู้บริโภคที่สูงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งรถยนต์นั่งซึ่งมีความจำเป็นในการเดินทางที่สะดวก ปลอดภัย ลดความเสี่ยงในการรักษาระยะห่างทางสังคม (Social distancing) เพื่อให้ปลอดภัยจากโรคระบาด โควิด-19

ตลาดรถยนต์ในเดือนมิถุนายนมีแนวโน้มการเจริญเติบโตที่ดีอย่างต่อเนื่อง จากความมั่นใจของผู้บริโภคที่สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 ได้เป็นอย่างดี ส่งผลดีต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวม และสะท้อนไปยังตลาดรถยนต์ด้วยเช่นกัน โดยสถานการณ์ราคาน้ำมันดีเซลที่ส่วนใหญ่ใช้ในภาคขนส่งจะส่งผลกระทบต่อราคาสินค้าที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมทั้งราคาน้ำมันเบนซินที่ส่วนใหญ่ใช้ในรถยนต์ส่วนบุคคล ส่งผลให้ต้นทุนในการเดินทางของประชาชนสูงขึ้น แต่ก็ไม่อาจหยุดความต้องการใช้รถยนต์ของผู้บริโภค ภายใต้ปัจจัยเสริมที่สำคัญคือข้อเสนอพิเศษที่ทำให้การเป็นเจ้าของรถยนต์ในปัจจุบันเป็นเรื่องง่าย เป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้ตลาดรถยนต์ในเดือนมิถุนายนยังคงเดินหน้าอย่างต่อเนื่อง

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนพฤษภาคม2565

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 64,735 คัน เพิ่มขึ้น 15.7%                            

อันดับที่ 1 โตโยต้า 22,181 คัน เพิ่มขึ้น  12.2% ส่วนแบ่งตลาด 34.3%

อันดับที่ 2 อีซูซุ   15,728 คัน เพิ่มขึ้น 5.8% ส่วนแบ่งตลาด 24.3%

อันดับที่ 3 ฮอนด้า  5,035 คัน เพิ่มขึ้น  0.7%  ส่วนแบ่งตลาด 7.8%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 20,084 คัน เพิ่มขึ้น 29%                             

อันดับที่ 1 โตโยต้า  5,773 คัน เพิ่มขึ้น 19.7% ส่วนแบ่งตลาด 28.7%

อันดับที่ 2 ฮอนด้า  3,191 คัน ลดลง 27.1% ส่วนแบ่งตลาด 15.9%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ  2,077 คัน เพิ่มขึ้น 76.5% ส่วนแบ่งตลาด 10.3%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 44,651 คัน เพิ่มขึ้น 10.6%                                 

อันดับที่ 1 โตโยต้า 16,408 คัน เพิ่มขึ้น  9.8% ส่วนแบ่งตลาด 36.7%

อันดับที่ 2 อีซูซุ 15,728 คัน เพิ่มขึ้น 5.8% ส่วนแบ่งตลาด 35.2%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ  2,637 คัน เพิ่มขึ้น 19.1% ส่วนแบ่งตลาด  5.9%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) 

ปริมาณการขาย 33,822 คัน เพิ่มขึ้น 6.4%                                 

อันดับที่ 1 อีซูซุ 14,192 คัน เพิ่มขึ้น  5.9% ส่วนแบ่งตลาด 42.0%

อันดับที่ 2 โตโยต้า 13,909 คัน เพิ่มขึ้น 11.1% ส่วนแบ่งตลาด 41.1%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ  2,604 คัน เพิ่มขึ้น 19.2% ส่วนแบ่งตลาด  7.7%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 4,585 คัน 

โตโยต้า 2,048 คัน – อีซูซุ 1,297 คัน – มิตซูบิชิ 702 คัน – ฟอร์ด 435 คัน – นิสสัน 103 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 29,237 คัน เพิ่มขึ้น 5.4%                                 

อันดับที่ 1 อีซูซุ 12,895 คัน เพิ่มขึ้น  5.2% ส่วนแบ่งตลาด 44.1%

อันดับที่ 2 โตโยต้า 11,861 คัน เพิ่มขึ้น 13.0% ส่วนแบ่งตลาด 40.6%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ  1,902 คัน เพิ่มขึ้น 9.7% ส่วนแบ่งตลาด  6.5%       

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – พฤษภาคม 2565

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 359,351 คัน เพิ่มขึ้น 16.6%                            

อันดับที่ 1 โตโยต้า 121,006 คัน เพิ่มขึ้น 27.6%  ส่วนแบ่งตลาด 33.7%

อันดับที่ 2 อีซูซุ  89,743 คัน เพิ่มขึ้น  13.5% ส่วนแบ่งตลาด 25.0%

อันดับที่ 3 ฮอนด้า 35,766 คัน เพิ่มขึ้น 1.1%  ส่วนแบ่งตลาด 10.0%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 116,302 คัน เพิ่มขึ้น 18.9%                                 

อันดับที่ 1 โตโยต้า  33,010 คัน เพิ่มขึ้น 35.9% ส่วนแบ่งตลาด 28.4%

อันดับที่ 2 ฮอนด้า  27,056 คัน ลดลง 10.3% ส่วนแบ่งตลาด 23.3%

อันดับที่ 3 มาสด้า  10,151 คัน เพิ่มขึ้น 11.9% ส่วนแบ่งตลาด  8.7%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 243,049 คัน เพิ่มขึ้น 15.5%                     

อันดับที่ 1 อีซูซุ 89,743 คัน เพิ่มขึ้น  13.5% ส่วนแบ่งตลาด 36.9%

อันดับที่ 2 โตโยต้า 87,996 คัน เพิ่มขึ้น 24.7% ส่วนแบ่งตลาด 36.2%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 13,545 คัน เพิ่มขึ้น  11.4% ส่วนแบ่งตลาด  5.6%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) 

ปริมาณการขาย 190,223 คัน เพิ่มขึ้น 16.2%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 82,799 คัน เพิ่มขึ้น  14.3% ส่วนแบ่งตลาด 43.5%

อันดับที่ 2 โตโยต้า 76,603 คัน เพิ่มขึ้น 28.4%  ส่วนแบ่งตลาด 40.3%

อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 13,447 คัน เพิ่มขึ้น  13.6%  ส่วนแบ่งตลาด  7.1%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 25,400 คัน 

โตโยต้า 12,012 คัน – อีซูซุ 7,531 คัน – มิตซูบิชิ 3,483 คัน – ฟอร์ด 1,850 คัน – นิสสัน 524 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 164,823 คัน เพิ่มขึ้น 18%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 75,268 คัน เพิ่มขึ้น   17.2% ส่วนแบ่งตลาด 45.7%

อันดับที่ 2 โตโยต้า 64,591 คัน เพิ่มขึ้น  31.5% ส่วนแบ่งตลาด 39.2%

อันดับที่ 3 ฟอร์ด 10,295 คัน ลดลง 9.9% ส่วนแบ่งตลาด  6.2%     

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *